การพัฒนาระบบสารสนเทศ
(Information System Development)
วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle)
การพัฒนาระบบสารสนเทศเป็นกระบวนการในการสร้างระบบสารสนเทศขึ้นมาเพื่อใช้สำหรับแก้ปัญหา หรือสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับธุรกิจ และด้วยระบบสารสนเทศในยุคปัจจุบัน นับวันจะทวีความซับซ้อนยิ่งขึ้น ดังนั้น โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศจึงจำเป็นต้องได้รับการวางแผนที่ดี
การพัฒนาซอฟต์แวร์ ตามปกติแล้วจะประกอบไปด้วยกลุ่มกิจกรรม 3 ส่วนหลักๆ คือ การวิเคราะห์ (Analysis),การออกแบบ(Design) และการนำไปใช้(Implementation) ซึ่งกิจกรรมทั้งสามอย่างนี้สามารถใช้งานได้ดีกับโครงการซอฟต์แวร์ขนาดเล็ก ในขณะที่ซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ จำเป็นต้องช้แบบแผนการพัฒนาซอฟต์แวร์ตามแนวทางของ SDLC จนครบทุกกิจกรรม ซึ่งแสดงได้ดังรูปในสไลด์ที่ผ่านมา ดังนี้
ระยะที่ 1 : การวางแผนโครงการ (Project Planning Phase)
q ระยะที่ 2 : การวิเคราะห์ (Analysis Phase)
q
q
q
qวิธีการพัฒนาระบบ
วิธีการพัฒนาระบบโดยทั่วไป จะประกอบด้วย 2 วิธีด้วยกัน คือ
1.วิธีการพัฒนาระบบแบบดั้งเดิม (The Traditional Approach)
2.วิธีการพัฒนาระบบเชิงวัตถุ (The Object-Oriented Approach)
- วิธีการพัฒนาระบบแบบดั้งเดิม (TheTraditional Approach) มีเทคนิคหลากหลาย ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานของการพัฒนาระบบสารสนเทศด้วยวิธีโครงสร้างและการโปรแกรมแบบโมดูล โดยมักเรียกวิธีนี้ว่า การพัฒนาระบบเชิงโครงสร้าง (Structured System Development)
- วิธีการพัฒนาระบบเชิงวัตถุ (The Object-Oriented Approach)
จัดเป็นวิธีใหม่ของการพัฒนาระบบ
คุณสมบัติของซอฟแวร์ที่มีคุณภาพ ประกอบด้วย
1.มีความถูกต้อง (Correctness)
2.มีความน่าเชื่อถือ (Reliability)
3.ใช้งานง่าย (User Friendliness)
4.บำรุงรักษาง่าย (Maintainability)
5.สามารถนำกลับมาใช้งานใหม่ได้ (Reusability)
6.มีความคงทน (Robustness)
7.มีประสิทธิภาพ (Efficiency)
8.มีความสะดวกในการเคลื่อนย้าย (Portability)
9.มีความปลอดภัย (Security/Safety)
ü
สาเหตุสำคัญที่จำเป็นต้องใช้โมเดลการพัฒนาซอฟแวร์ ก็เพราะ
สาเหตุสำคัญที่จำเป็นต้องใช้โมเดลการพัฒนาซอฟแวร์ ก็เพราะ
2. ซอฟแวร์ที่พัฒนามีความซับซ้อน
1.โมเดลการพัฒนาซอฟแวร์จะมีการแตกขั้นตอนของกระบวนการพัฒนาในแต่ละเฟส 3. การแบ่งเป็นกระบวนการพัฒนาเป็นเฟสหรือเป็นระยะ จะทำให้ง่ายต่อการจัดการ
4. แต่ละเฟสมีแนวทางต่างๆ ให้เลือกปฏิบัติ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น